ข้อคิดในกัณฑ์ทศพร
การทำบุญจักให้สำเร็จสมประสงค์นั้น ตั้งกัลยาณจิตอธิษฐาน เป้าหมายชีวิตที่ตนปรารถนาไว้ และความปรารถนาที่จะสำเร็จสมดังตั้งใจ ผู้นั้นต้องมีศีลบริบูรณ์มีศีลห้าเป็นต้น กล่าวคือ
๑. ต้องกระทำความดี
๒. ต้องรักษาความดีนั้นไว้
๓. หมั่นเพิ่มพูนความดีให้มากยิ่งขึ้น
การทำบุญจักให้สำเร็จสมประสงค์นั้น ตั้งกัลยาณจิตอธิษฐาน เป้าหมายชีวิตที่ตนปรารถนาไว้ และความปรารถนาที่จะสำเร็จสมดังตั้งใจ ผู้นั้นต้องมีศีลบริบูรณ์มีศีลห้าเป็นต้น กล่าวคือ
๑. ต้องกระทำความดี
๒. ต้องรักษาความดีนั้นไว้
๓. หมั่นเพิ่มพูนความดีให้มากยิ่งขึ้น
ข้อคิดในกัณฑ์หิมพานต์
๑. คนดีเกิดที่ไหนไม่สำคัญ แต่สำคัญอยู่ที่ทำดีหรือเปล่า
๒. การเสียสละแบ่งปันเป็นหัวใจของการสร้างสรรค์สังคม
๒. การเสียสละแบ่งปันเป็นหัวใจของการสร้างสรรค์สังคม
๓. การทำดีบางครั้งอาจมีอุปสรรค
๔. ความเห็นแก่ตัว เป็นภัยอันยิ่งใหญ่ของการอยู่ร่วมกัน
๕. การเลือกคู่ครองที่ดีให้ดูมัทรีเป็นแบบอย่าง ไม่หลงระเริงในยามสุข ไม่ละเลยคู่ทุกข์ในยามยาก
ข้อคิดในทานกัณฑ์
๑. ยามมีเขายก ยามหมดเขาหยาม ชีวิตมีทั้งชื่นบานและขมขื่น
๒. ความรักของแม่ความห่วงใยของเมีย ยิ่งใหญ่กว่ารักและห่วงใยของใคร ๆ ในโลก
๓. เพื่อประโยชน์สุขของส่วนรวม ผู้มุ่งโพธิญาณย่อมมิหวั่นไหวต่ออุปสรรค
๔. ชีวิตเป็นอนิจจัง อย่าจริงจังจนเกินไปนัก
๒. ความรักของแม่ความห่วงใยของเมีย ยิ่งใหญ่กว่ารักและห่วงใยของใคร ๆ ในโลก
๓. เพื่อประโยชน์สุขของส่วนรวม ผู้มุ่งโพธิญาณย่อมมิหวั่นไหวต่ออุปสรรค
๔. ชีวิตเป็นอนิจจัง อย่าจริงจังจนเกินไปนัก
๕. โทษของความเป็นหม้ายในสมัยก่อน คือ ถูกสังคมดูหมิ่นเหยียดหยาม
ข้อคิดในกัณฑ์วนประเวศน์
๑. ยามจน ยามเจ็บ ยามจากเป็นกาลเวลาที่ควรจะได้รับความเห็นใจเหลียวแลช่วยเหลือจากญาติมิตรหรือเพื่อนร่วมโลก
๒. ผลดีของมิตรแท้ คือ ไม่ทอดทิ้งในยามยาก ประคองในคราวลำบาก อุ้มชูในยามตกต่ำ ช่วยค้ำในยามทรุด
๓. น้ำใจของคนดี หากรู้ว่าความสุขของคนส่วนมากจะตั้งอยู่ได้เพราะการเสียสละของตนก็ยินดีที่จะสละโอกาสและโชคลาภอันพึงได้ให้ด้วยความเต็มใจ
ข้อคิดในกัณฑ์ชูชก
๑. บุรุษจะบรรลุความสำเร็จอันสูงสุดได้ เมื่อไม่หลงในอำนาจของสตรี
๒. สามีแก่ทุกข์ใจเพราะได้ภรรยาสาว
๓. ความรู้เป็นพิษเพราะเหตุที่ไม่ใช้อาหารเป็นพิษเพราะเหตุไฟธาตุไม่ย่อย เมียสาวเป็นพิษเพราะผัวแก่
๒. สามีแก่ทุกข์ใจเพราะได้ภรรยาสาว
๓. ความรู้เป็นพิษเพราะเหตุที่ไม่ใช้อาหารเป็นพิษเพราะเหตุไฟธาตุไม่ย่อย เมียสาวเป็นพิษเพราะผัวแก่
ข้อคิดในกัณฑ์จุลพน
๑. มีอำนาจหากขาดสติปัญญาไตร่ตรองย่อมถูกหลอกได้ง่าย
๒. คนโง่ย่อมเป็นเหยื่อของคนฉลาด แต่ความโง่ถ้าไม่เบียดเบียนใคร ย่อมดีกว่าความฉลาดที่เอาเปรียบคนอื่น
๒. คนโง่ย่อมเป็นเหยื่อของคนฉลาด แต่ความโง่ถ้าไม่เบียดเบียนใคร ย่อมดีกว่าความฉลาดที่เอาเปรียบคนอื่น
๓. ไว้ใจทาง วางใจคน จะจนใจตนเอง
ข้อคิดในกัณฑ์มหาพน
๑. ฉลาดแต่ขาดเฉลียว มีปัญญาแต่ขาดสติหย่อนปฏิบัติตนก็พลาดท่าเสียทีได้ง่าย
๒. คนคดมักพูดหวาน คนพาลมักพูดเพราะ ต้องวิเคราะห์วินิจฉัยให้ถ้วนถี่
๓. คบคนให้ดูหน้า ซื้อผ้าให้ดูเนื้อ ซื้อเสื่อให้ดูลาย
๔. บางครั้งความสงสารอาจนำมาซึ่งความฉิบหาย หากเชื่อง่ายอาจนำมาซึ่งความทุกข์
ข้อคิดในกัณฑ์กุมาร
๑. พ่อแม่ทุกคนรักลูกเหมือนกันแต่เป็นห่วงไม่เหมือนกัน โดยห่วงหญิงมากกว่าชายเพราะหญิงปกป้องตัวเองมากกว่า
๒. วิสัยของผู้หญิงนั้น แม้จะมากด้วยเมตตากรุณา ชอบปลดเปลื้องความทุกข์ให้แก่ผู้อื่น แต่ไม่มีวันจะสละลูกในไส้ให้แก่ผู้ใดได้
๓. การเป็นผู้รู้จักกาลเทศะ เป็นบันไดสู่ความสมหวัง
๔. ทานอันยิ่งบัณฑิตย่อมสรรเสริญ แต่ปุถุชนมักติเตียน
๒. วิสัยของผู้หญิงนั้น แม้จะมากด้วยเมตตากรุณา ชอบปลดเปลื้องความทุกข์ให้แก่ผู้อื่น แต่ไม่มีวันจะสละลูกในไส้ให้แก่ผู้ใดได้
๓. การเป็นผู้รู้จักกาลเทศะ เป็นบันไดสู่ความสมหวัง
๔. ทานอันยิ่งบัณฑิตย่อมสรรเสริญ แต่ปุถุชนมักติเตียน
ข้อคิดในกัณฑ์มัทรี
๑. “รักใครเล่าจะเท่าพ่อแม่รัก ห่วงใดเล่าจะเท่าพ่อแม่ห่วง หวงใดเล่าจะเท่าพ่อแม่หวง ให้ใครเล่าจะเท่าพ่อแม่ให้”
๒. ลูกดีชื่นใจพ่อแม่ ลูกแย่พ่อแม่ช้ำใจ
๓. ลูกกตัญญู ชาวโลกอนุโมทนา เทวดาชื่นชม พรหมก็สรรเสริญ
ข้อคิดในกัณฑ์สักบรรพ
๑. การทำดีแม้ไม่มีคนเห็น แต่เทวดาย่อมเห็น
๒. “อยากได้ดีไม่ทำดีนั้นมีมาก ดีแต่อยากหากไม่ทำก็ขำหนอ อยากได้ดีต้องทำดีอย่ารีรอ ดีแต่ขอรอแต่ดีไม่ดีเอย”
๓. ภรรยาที่ดีพึงสนับสนุนกิจการของสามีข้อคิดในกัณฑ์มหาราช
๑. คนดีตกน้ำไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้ ย่อมได้รับความปกป้องคุ้มครองภัยในที่ทุกสถาน
๒. พึงสละทรัพย์เพื่อรักษาอวัยวะ พึงสละอวัยวะเพื่อรักษาชีวิต พึงสละชีวิตเพื่อรักษาความถูกต้อง คือ ธรรม
๒. พึงสละทรัพย์เพื่อรักษาอวัยวะ พึงสละอวัยวะเพื่อรักษาชีวิต พึงสละชีวิตเพื่อรักษาความถูกต้อง คือ ธรรม
ข้อคิดในกัณฑ์ฉกษัตริย์
๑. จากกันยามเป็นได้เห็นน้ำใจ จากกันยามตายได้เห็นน้ำตา
๒. การให้อภัยเป็นเพราะได้สำนึกเป็นเหตุให้ลบรอยร้าวฉาน สันติสุขย่อมเกิดแก่โลกและสังคม
๓. ความผิดพลาดเป็นเรื่องของมนุษย์ การให้อภัยเป็นวิสัยของเทวดา และการรู้จักปรับปรุงแก้ไขเป็นวิสัยของบัณฑิต
๒. การให้อภัยเป็นเพราะได้สำนึกเป็นเหตุให้ลบรอยร้าวฉาน สันติสุขย่อมเกิดแก่โลกและสังคม
๓. ความผิดพลาดเป็นเรื่องของมนุษย์ การให้อภัยเป็นวิสัยของเทวดา และการรู้จักปรับปรุงแก้ไขเป็นวิสัยของบัณฑิต
ข้อคิดในนครกัณฑ์